วันพุธที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บนทึกอนุทินประจำวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558

เนื้อหาวิชา

1. ศึกษาสาระที่ควรเรียนรู้

  • วิเคราะห์เนื้อหา
  • ศึกษาประสบการณ์จริง
  • บูรณาการคณิตศาสตร์
  • ออกแบบกิจกรรม
  2. หลักในการสร้างหน่วยการเรียนรู้
  • เรื่องใกล้ตัว
  • เรื่องที่มีผลต่อตัวเด็ก
3. ประสบการสำคัญที่เด็กควรได้รับ

  • ประสบการณ์ที่สำคัญที่ส่งเสริมด้านร่างกาย
  • ประสบการณ์ที่สำคัญที่ส่งเสริมด้านด้านจิตใจ-อารมณ์
  • ประสบการณ์ที่สำคัญที่ส่งเสริมด้านสงคม
  • ประสบการณ์ที่สำคัญที่ส่งเสริมด้านสติปัญญา




วิธีการสอน/กิจกรรมในห้อง

  1. มีกิจกรรมตัวอย่าง

  •  รูปสัตว์
  • จำนวนสัตว์
  • ใช้เทคโนโลยีมาเป็นสื่อในการสอนมีกิจกรรมสรอจแทรกให้หน้าสนใจ


   2. กิจกรรม 
  • นักศึกษาสร้าง Mind Mapping
  • นักศึกษาช่วยกันเขียนแผนการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์



ทักษะที่ได้

     1. ทักษะการคิดและการวางแผนเขียน mindmap
     2. ทักษะการสอนใ้ห้เชื่องโยงกับ mindmap

การประยุกต์ใช้

   สอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนที่สอดคล้องกับจุดประสงค์และ Mindmap เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ทำกิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกันแบบประชาธิปไตยหัวข้อในการเรียนการสอนจะต้องรียนรู้จากของจริง และต้องป็นประโยนช์กับตัวผู้รียน  และต้องช่วยส่งเสริมประสบการณ์ให้กับเด็กได้ด้วย

บรรยากาศในห้อง

อากาศสบาย และไม่หนาวจนเกินไป ห้องสะอาดเรียบร้อย

ประเมิน

ประเมินเพื่อน
    นักศึกษาทุกคนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

ประเมินผู้สอน
     น้ำเสียงชัดเจน เนื้อหาที่นำมามีประโยชน์ต่อนักศึกษามาก คือ เทคนิคการจัดประสบการณ์คณติศาสตร์ให้น่าสนใจ

บันทึกอนุทินประจำวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2558

เนื้อหาวิชา
1. ผู้สอนให้นักศึกษา แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ให้ทำกิจกรรม ต่อไม้โดยมีดินน้ำมนป็นตัวเชื่อมเป็นรูปทรงตามคำสั่งดังนี้

  • ต่อเป็นรูปสามเลี่ยม
  • ต่อเป็นรูปสี่เหลี่ยม
  • ต่อเป็นรูปอะไรก็ได้
  • ต่อป็นรูปทรงสามเหลี่ยม
  • ต่อป็นรูปทรงสี่หลี่ยม
  • ต่อเป็นรูปทรงอะไรก็ได้ 
  • รูปแบบการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ
  • รูปแบบการจัดประสบการณื แบบโครงการ
  • รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบสมองเป็นฐาน
  • รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบ STEM
  • รูปแบบการจักประสบการณ์แบบมอนเตสซอรี่
  • รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบเดินเรื่อง

       
         
วิธีการสอน/กิจกรรมในห้อง
   
  • นักศึกษานำเสนองาน เรื่อง รูปแบบการจักประสบการณ์แบบมอนเตสซอรี่
  • นักศึกษานำเสนองาน เรื่อง รูปแบบการจักประสบการณ์แบบสตอรี่ไลน์
  • นักศึกษานำเสนองาน เรื่อง รูปแบบการจักประสบการณ์แบบสมอง BBL
  • นักศึกษานำเสนองาน เรื่อง รูปแบบการจักประสบการณ์แบบ STEM
  • เลขที่ 2 สนอบทความ คณิ๖ศาตร์สำหรบดกปฐมวัย
  • เลขที่25 นำเสนอโทรทัศน์ครู เรื่องสร้างื้นฐานการรียนรู้กับกิจกรรม 5 ประสาทสัมผัส
  • ลขที่ 26 นำเสนอโทรทัศน์ครู เรื่อง การสอนคริตสาตร์ยใช้นิทาน

    
ทักษะที่ได้


  • ทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในการต่อไม้โดยใช้ดินน้ำมันเป็นตัวเชื่อม 
  • ทักษะการคิด วิธีการต่อไม้โดยใช้ดินน้ำมันเป็นตัวเชื่อมเื่อให้เป็นรูปทรงตามคำสั่ง
  • ทักษะการใช้ภาษาและการออกมานำเสนองานหน้าชั้นเรียน


 การประยุกต์ใช้
   จากงานที่เพื่อนนำเสนอมา ในเรื่องของการสอนในรูปแบต่างๆ ทำให้นักศึกษามีแนวคิดและใช้เป็นแนวทางที่สามารถจะไปปรับใช้ในการสอนในการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยอย่างถูกวิธี


 บรรยากาศในห้อง
ห้องสะอาดเรียบร้อย  สื่อ วัสดุ มีความพร้อมในการเรียนการสอน 


ประเมิน


ประเมินเพื่อน


    นักศึกษาทุกคนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมอย่างต้งใจแลสนุกสนาน  


ประเมินผู้สอน
              การใช้น้ำเสียง สียงดงฟงชด อธิบายได้ละเอียด เข้าใจง่าย และให้คำแนะนำได้ดีแก่นักศึกษา

วันศุกร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินประจำวนที่ 18 มีนาคม พ.ศ.2558

เนื้อหาวิชา
1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ให้แต่ง เพลง นิทาน และปริศนาคำทาย มานำเสนอหน้าช้นเรียน โดยมีนื้อหาจากสาระการเรีนรรู้คณิตศาสตร์ดังนี้
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

 วิธีการสอน/กิจกรรมในห้อง
1. นักศึกษาเลขที่ 24 นำเสนองานวิจัย
1. นักศึกษาเลขที่ 1 นำเสนอบทความเรื่อง เทคนิคเลขอนุบาล
1. นักศึกษาเลขที่ 3 นำเสนอบทความเรื่อง เสริมการเรียนเลขในวัยอนุบาล

ทักษะที่ได้
1. ทักษะการใช้ภาษาในการแต่ง นิทาน คำล้องจอง และเพลง
2. ทักษะการคิด การฟัง และสรุปวิจัยที่เพื่อนออกมานำเสนอ

การประยุกต์ใช้
    เราสามารถนำเทคนิคต่างๆ เช่น การแต่งเพลง นิทาน คำคล้องจอง มาบูรณาการในการสอนวิชาคณิตศาสตร์ได้ โดยการแทรกเนื้อหาลงไป โดยที่เด็กเองก็ไม่รู้ตัวว่ากำลังเรียนคณิตศาสตร์อยู่ ทำให้เด็กไม่เครียด แลสนุกกับเทคนิคที่เรานำไปสอน
 บรรยากาศในห้อง

 ห้องสะอาดเรียบร้อย  สื่อ วัสดุ มีความพร้อมในการเรียนการสอน 

ประเมิน

ประเมินเพื่อน

    นักศึกษาทุกคนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม  

ประเมินผู้สอน
              น้ำเสียงมีดทน มีระดับ อักขระชัดเจน แต่งกายสุภาพเรียนร้อย ใช้คำถามปลายเปิดพื่อให้นักศึกษาได้ใช้ความคิดเยอะๆ 

บันทึกอนุทินประจำวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2558

เนื้อหาวิชา
การสอนแบบโครงการ 
           การสอนแบบโครงการ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งซึ่งให้ความสำคัญกับเด็ก ส่ง         เสริมให้เด็กแสวงหาคำตอบจากการเรียนเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างลุ่มลึกเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วย             ตนเอง โดยที่เด็กหรือครูร่วมกันกำหนดเรื่องที่ต้องการเรียนรู้
วิธีจัดการเรียนการสอนมี 4 ระยะ คือ 
ระยะที่ 1 เริ่มต้นโครงการ เด็กจะร่วมกันคิดเรื่องที่สนใจ

ระยะที่ 2 ระยะวางแผนโครงการ เป็นช่วงเวลาที่กำหนดจุดประสงค์ว่าต้องการเรียนรู้อะไร กำหนดขอบเขตเนื้อหา ระยะเวลาและวิธีการศึกษา

ระยะที่ 3 ดำเนินโครงการตามที่กำหนดไว้ ที่เน้นระบวนการแก้ปัญหา จัดเป็นหัวใจของการสอนแบบโครงการ เพราะเด็กจะได้รับข้อมูลใหม่จากประสบการณ์ตรงหรือเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐานเพราะเด็กได้สนทนา พูดคุยกับบุคคล และสืบค้นจากแหล่งเรียนรู้ ขณะเดียวกันเด็กสามารถค้นความรู้จากแหล่งข้อมูลรอง (Secondary Sources) เช่น การดูวีดีทัศน์ การอ่านหนังสือ เป็นต้น

ระยะที่ 4 สรุปโครงการ ครูและเด็กร่วมวางแผนสรุปโครงการ เป็นขั้นตอนการประเมินโครงการ ทบทวนการปฏิบัติ และวางแผนโครงการใหม่ วิธีการสรุปโครงการอาจจะให้เด็กนำผลงานที่ได้รับมอบหมายมาแสดงต่อครูแล้วอภิปรายประเด็นปัญหา หรือให้เด็กนำเสนอผลงาน ในรูปของการจัดแสดง จัดเป็นนิทรรศการ หรือสาธิตผลงาน
 วิธีการสอน/กิจกรรมในห้อง
1.นักศึกษาเลขที่ 21 นำเสนอบทความ การสอนคณิตศาสต์จากชีวิตรอบตัว
2.นักศึกษานำเสนองาน หัวข้อ การสอนแบบโครงการ
ทักษะที่ได้
1. ทักษะการคิดและการตอบคำถาม
2. ทักษะการฟังและการสรุปเนื้อหาที่เพื่อนนำเสนอ 
การประยุกต์ใช้ 
  
การจัดการสอนแบบโครงการนำมาประยุกต์ใช้ดยให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องที่เขาสนใจทั้งในแนวกว้างและแนวลุ่มลึกที่เขาสามารถเรียนได้ สนับสนุนเด็กให้สืบหาคำตอบด้วยตนเอง 
บรรยากาศในห้อง
 ห้องสะอาดเรียบร้อย  สื่อ วัสดุ มีความพร้อมในการเรียนการสอน
ประเมิน
ประเมินเพื่อน
    นักศึกษาทุกคนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม 
ประเมินผู้สอน
              น้ำเสียงมีดทน มีระดับ อักขระชัดเจน แต่งกายสุภาพเรียนร้อย ใช้คำถามปลายเปิดพื่อให้นกศึกษาได้ใช้ความคิดยอะๆ 

บันทึกอนุทินประจำวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558



เนื้อหาวิชา

รูปแบบการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย (Integrated Learning Management)

- รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบบูรณาการ
- รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบโครงการ
- รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบสมองเป็นฐาน
- รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบSTEM
- รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบมอนเตสซอรี่
- รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบเดินเรื่อง

วิธีการสอน/กิจกรรมในห้อง

1. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน
2. นักศึกษาเลขที่ 17 นำเสนอ โทรทัศน์ครู
3.อธิบายด้วยโปรแกรม Power Point และการแตกความคิดในรูปแบบของ Mind Map

ทักษะที่ได้

1. ทักษะการคิดและการตอบคำถาม
2. ทักษะการสรุปเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ

การประยุกต์ใช้

   สอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนที่สอดคล้องกับจุดประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเองให้ความสำคัญกับครูและนักเรียนเท่าเทียมกัน ทำกิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกันแบบประชาธิปไตย
หัวข้อในการเรียนการสอนจะต้องรียนรู้จากของจริง และต้องป็นปรโยนช์กับตัวผู้รียน

บรรยากาศในห้อง

อากาศสบาย และไม่หนาวจนเกินไป ห้องสะอาดเรียบร้อย

ประเมิน

ประเมินเพื่อน
    นักศึกษาทุกคนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

ประเมินผู้สอน
     น้ำเสียงชัดเจน เนื้อหาที่นำมามีประโยชน์ต่อนักศึกษามาก คือ เทคนิคการจัดประสบการณ์คณติศาสตร์ให้น่าสนใจ

วันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินประจำวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558

เนื้อหาวิชา

เทคนิคการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์

1. นิทาน การใช้นิทานที่มีเนื้อหาง่าย เข้าใจง่าย ใช้นิทานที่มีการเกิดเหตุการต่างๆ๘ึ้นเป็นลำดับข้นตอน      เพราะจะช่วยให้เด็กมีทักษะคณิตศาสตร์ด้าน การเรียงลำดับการเกิดเหตุการณ์ ว่าเหตการณ์ใดเกิดขึ้น      ก่อ หรือเหตุการณ์ใดเกิดข้นทีหลัง

2.เพลง การใช้เพลงที่มีเนื้อร้อง เกี่ยวกับตัวเลข เช่น เพลงนิ้ว เด็กก็จะได้การนับเลข

เพลงนิ้ว 

นี่คือนิ้วมือของฉัน
มือฉันนั้นมีสิบนิ้ว
   มือซ้ายฉันมี ห้า นิ้ว   
มือขวา ก็มี ห้า นิ้ว
นับ หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า 
นับต่อมา หก เจ็ด แปด เก้า สิบ
นับนิ้วนับจงอย่ารีบ
นับหนึ่งถึงสิบจำให้ขึ้นใจ

3. เกมส์การศึกษา จะมีหลายชนิดเช่น การจับคู่ การเรียงลำดับ ความสัมพันธ์ 2 แกน การต่อปลาย พื้น          ฐานการบวก
4. ปริศนาคำทาย  เช่น การนำเอาเนื้อหาคณิตศาสตร์ไปใส่ในนิทาน ทายปริศนาต่างๆ
5. บทบาทสมมติ  การจัดมุมประสบการณ์ ใช้ของเล่นในแนวของมอนเตสซอรี่ ที่ครูต้องสาธิตการเล่นให้     เด็กได้ดูก่อน
6. การประกอบอาหาร  ส่วนประกอบ อัตราส่วน ปริมาตร ปริมาน ของอาหาร ของส่วนผสมของอาหาร

วิธีการสอน/กิจกรรมในห้อง
1. ลงชื่อ เพื่อเลือกสานที่ ที่นักศึกษาอยากไปมากที่สุด การสอนลกษณแบบนี้ เป็นการสอนให้เด็กได้           ลงมือปฏิบัติ เด็กจะได้การนับ ( นับจำนวนเพื่อนที่ลงชื่อ เลือกสถานที่ต่างๆ )
2. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน หัวข้อ เทคนิคการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ มีอะไรบ้าง
3. นักศึกษาเลขที่ 13-15 นำเสนอ วิจัย

ทักษะที่ได้

1. ทักษะการร้องเพลง 
2.ทักษะการบูรณาการการสอนคณิตศาสตร์

การประยุกต์ใช้

      การสอนคณิตศาสร์ ไม่จำเป็นต้องขึ้นการดานสอนเท่านั้น แต่เราสามารถนำเทคนิค ต่างๆไปปรับใช้ได้เช่น นำเนื้อหาคณิศาสตร์ ไปสอดเเทรก ทำให้เด็กได้เรียนรู้คณิสาตร์โดยไม่น่าเบื่อ นำไปแทรกในนิทาน ในเกมส์การสึกษา เพลง เป็นต้น ตัวของคุณครูเองก็ต้องมีลีลา ลูกเล่นด้วยเพื่อเพิ่มความดงดูด ความสนใจต่อเด็ก

บรรยากาศในห้อง

อากาศไม่ร้อน และไม่หนาวจนเกินไป เเละเต็มไปด้วยเสียงหัวเราะและรอยยิ้มของนักศึกษาทุกคน

ประเมิน

ประเมินเพื่อน
นักศึกษาทุกคนให้ความร่วมือในการทำกิจกรรม

ประเมินผู้สอน
น้ำเสียงชัดเจน เนื้อหาที่นำมามีประโยชน์ต่อนักศึกษามาก คือ เทคนิคการจัดประสบการณ์คณติศาสตร์ให้น่าสนใจ

วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินประจำวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558

เนื้อหาวิชา

1. มาตรฐานคืออะไรและมีประโยชน์อย่างไร

     มาตรฐานคือ ข้อกำหนดหรือเกณฑ์ เพื่อพิจจารณาคุณภาพของสิ่ง สิ่งหนึ่ง เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการวัดคุณภาพ

2. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์

สาระที่1 จำนวนและการดำเนินการ : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้ในชีวิตจริง
สาระที่2 การวัด : เข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานในการวัดในสิ่งที่ต้องการวัด
สาระที่3 เรขาคณิต : รู้จักจำแนกรูปเรขาคณิต รู้จักการบอกตำเเหน่ง
สาระที่4 พืชคณิต : เข้าใจรูปทรงและความสัมพันธ์
สาระที่5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น : มีความเข้าใจในการวิเคราะห์ใช้ความน่าจะเป็นในการ                                                                                ตัดสินใจ
สาระที่6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ : มีความสามรถในการแก้ไขปัญหา การให้เหตุผล 

3. คุณภาพของเด็กเมื่อจบการศึกษาปฐมวัย

    เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ และมีทักาะ มีความรู้  เพื่อเตรียมความพร้อมในระดับประถมศึกษา
     - มีความคิดเชิงคณิตศาสตร์ 
     - มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานคณิตศาตร์ เช่น ความยาว น้ำหนัก ขนาด ปริมาตร เป็นต้น
     - มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางเรขาคณิต เช่น ตำแหน่ง ทิสทาง ระยะทาง เป็นต้น
     - มีความรู้ความเข้าใจแบบรูปที่มีรูปร่าง ขนาด สีที่สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง
     - มีกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น

วิธีการสอน/กิจกรรมในห้อง

1. อาจารย์ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อวัดความรู้เดิมของนักศึกษาก่อนที่จะนำสู่เข้าบท         เรียน
2. ตัวแทนเลขที่ 10-12 นำเสนอบทความเกี่ยวกับคริตศาสตร์
3. อาจารย์ให้นักศึกษานำป้ายชื่อของตนเองไปติดที่บอร์ดเพื่อ แสดงให้เห็นถึงเรื่องที่เกี่ยวกับ                     คณิตศาสตร์ คือการนำจำนวนเพื่อนที่มาเรียนในวันนี้ เพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรม
4. อาจารย์นำสื่อมาใช้ในการเรียนการสอนคือ
เพลงจัดเเถว

        สองมือเราชูตรง    แล้วเอาลงมาเสมอกับบ่า
     ต่อไย้ายมาข้างหน้า       แล้วเองลงมาอยู่ในท่ายืนตรง

ทักษะที่ได้

1. ทักษะการเคลื่อนไหว เพลงที่อาจารย์นำมาสามาถนำไปใช้จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวได้เพราะมีท่า         ประกอบที่ง่าย และเหมาะสำหรับเด็กปฐมวัย
2. ได้ทักษะการฟังและการจับใจความสำคัญของการฟังบทความที่เพื่อนนำมาเสนอ และ เนื้อหาที่               อาจารย์นำมาสอนฃ

การประยุกต์ใช้

     สามารถนำสาระและมาตรฐานทั้ง 6 สาระไปเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม เช่น การที่เราจะคิดกิจกรรมที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เราต้องคำนึงถึงสาระที่เด็กจะได้รับด้วย ทั้งใน6 สาระที่ก็จะระบุไว้ว่าเด็กควรได้รับทักษะเรื่องใดบ้างเกี่ยวกับคริตศาสต์ เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับเด็ก วิธีการสอนเราต้องสอนแบบบูรณารการ คือ หนึ่งกิจกรรมสามารถ สอนแทรกความรู้ได้หลายวิชา


การสอนแบบบูรณาการ


บรรยากาศในห้อง

อากาศพอดี ห้องสะอาด บรรยากาศน่าเรียน

ประเมิน

ประเมินเพื่อน 
1.นางสาว ภณิชา กาบเครือ  พูดเสียงดังชัดเจน มีการเตรียมตัวมาดี น้ำเสียงมีจังหวะ น่าฟัง
ภาพโดยรวมของเพื่อนๆในห้อง ให้ความร้วมมือค่อนข้างดี แต่เพื่อนที่ได้รับมอบหมายให้มานำเสนอบทความไม่ได้เตรียมตัวมาทำให้มีการนำเสนอแค่เพื่อนคนเดียว

ประเมินผู้สอน
แต่กายสุภาพเรียบร้อย น้ำเสียงชัดเจน มีการนำสื่อมาใช้ในการเรียนการสอน ก็คือ เพลง ทำให้นักศึกษากระตือรือล้นมากขึ้น และทำให้บรรยากาศในห้องไม่น่าเบื่อ ผู้สอนมีการทดสอบความรู้เดิมของผู้เรียน ก่อนที่จะนำสู่เข้าเนื้อหาเพื่อที่จะสอนได้ถูต้อง  เป็นสิ่งที่ดีมาก เป็นสิ่งผู้สอนทุกคนควรจะมี